วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553

การจัดระเบียบบริหารราชการเเผ่นดิน


https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEik167MGOzOhjfh0FJtZjQhWDxNE7Dil6Oiz79LkHBawRO9RouRvU-3bfsLl3hR9eaucNK6brnkmJoInZJ-teZ13IZVXX8zkCDf3ZSlZmuDCeYQSwUXnYWBKQ_33NAZZcoI6YT2GtXxepJY/s320/66403democracy_200.jpg








ความเป็นมาการบริหารราชการแผ่นดินไทย
----------1. การบริหารราชการแผ่นดินก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี พ.ศ. 2547
มีวิวัฒนาการมาจากการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินครั้งใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการจัดโครงสร้างการบริหารตามหน้า ในรูปกระทรวงแทนการจัดตามพื้นที่ดังที่เป็นมาแต่โบราณ การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยรัชกาลที่ 5 นับเป็นการวางรากฐานสำคัญของการจัดระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินในระยะต่อ มา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารราชการส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคที่เน้นการรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง
----------2. การบริหารราชการแผ่นดินหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
--------------------2.1 การบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2546
เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินรวบรัดและเร็วยิ่งขึ้น สาระสำคัญของพระราชบัญญัติฉบับ มีดังนี้ (ชูวงศ์ ฉายะบุตร, 2539: 66 - 67)
------------------------

----------1. มีการจัดระเบียบการบริหารราชการออกเป็น 3 ส่วน ได้แก
--------------------- ราชการบริหารส่วนกลาง
--------------------- ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
--------------------- ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
----------2. มีการกำหนดฐานะของกระทรวงให้เป้นทบวงการเมือง
----------3. มีการปรับโอนอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคให้ในคณะกรมจังหวัด
----------4. ยกเลิกมณฑลคงเหลือแต่จังหวัด อำเภอที่เป็นราชการส่วนภูมิภาค
----------5. กำหนดราชการบริหารส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้นมา

--------------------2.2 การบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชาการแผ่นดิน พ.ศ. 2495
มีการใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้คือ
--------------------2.1 ให้ปลัดกระทรวงมีอำนาจรับผิดชอบในราชการประจำมีอำนาจบังคับบัญชา
ข้าราชการในกระทรวงได้
--------------------2.2 กระจายอำนาจสั่งการจากส่วนกลางไปสู่ส่วนภูมิภาค
--------------------2.3 ปรับปรุงการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นใหม่
--------------------2.3 การบริหารราชการแผ่นดินตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218

----------การบริหารราชการตามกฎหมายประกาศคณะปฏิวัติ มีปัญหาหลายประการ ได้แก่
--------------------ประการแรก การซ้ำชอนอันเนื่องจาการขยายงาน
--------------------ประการที่สอง ขาดบทบัญญัติที่ให้อำาจรัฐมนตรีอย่างชัดเจน
--------------------ประการที่สาม ขาดการกำหนดแผนงานในระดับกระทรวงอย่างแท้จริง
--------------------ประการที่สี่ มีกฎหมายพิเศษที่ระบุอำนาจที่เป็นเฉพาะ
--------------------ประการที่ห้า อำนาจยังไปกระจุกตัวอยู่ที่หัวหน้า
--------------------ประการที่หก ขาดเอกภาพในการบริหารงาน
--------------------
-------------------- 2.4 การบริหารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
เป็นกฎหมายหลักในการจัดระเบียบบริหารประกาศใช้แทนประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 โดยมีประเด็นสำคัญของการปรับปรุง ได้แก่
--------------------ประการแรก มีการกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่
--------------------ประการที่สอง มีการกำหนดบทบัญญัติที่ให้การบริหารงานระดับกระทรวงมีเอกภาพ
--------------------ประการที่สาม กำหนดให้มีการมอบอำนาจลดหลั่นลงไปในระดับต่าง ๆ





--------------------1. การบริหารราชการส่วนกลางจะต้องนำนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติ ก็คือการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
-----------------------1. สำนักนายกรัฐมนตรี
-----------------------2. กระทรวงหรือทบวง
-----------------------3. ทบวงซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี
-----------------------4. กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น

-----------------------สำนักนายกรัฐมนตรี
-----------------------การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวงมีระเบียบดังนี้
-------------------------- สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี
-------------------------- สำนักงานปลัดกระทรวง
-------------------------- กรมหรือส่วนราชการทีเรียกชื่ออย่างอื่น
--------------------2. การบริหารราชการส่วนภูมิภาคพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 บัญญัติว่า ให้จัดระบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ดังนี้

---------
1. จังหวัด
------------------1.1 ให้รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอตั้งชื่อเป็นจังหวัด
------------------1.2 ในจังหวัดนั้น ให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดคนหนึ่ง
------------------1.3 ในจังหวัดให้มีปลัดจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด
------------------1.4 ในจังหวัดหนึ่งให้มีคณะกรรมการจังหวัด
---------พระราชบัญญัติระเบียบบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 60 บัญญัติไว้ว่า "ให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัด" ดังนี้
------------------1. มีหน้าที่เกี่ยวกัลป์ราชการทั่วไปและการวางแผ่นพัฒนาจังหวัด
------------------2. มีหน้าที่ที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้น ๆ มีหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด

---------2. อำเภอ
------------------อำเภอเป็นหน่วยราชการส่วนภูมิภาค รองจังหวัดระเบียบราชาการในอำเภอที่สำคัญ ๆ มีดังนี้
------------------1. มีนายอำเภอคนหนึ่ง เป็นหัวหน้าปกครอง
------------------2. มีปลัดอำเภอคนหนึ่ง
------------------3. ให้แบ่งส่วนราชการของอำเภอดังนี้
---------------------------3.1 มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไป
---------------------------3.2 มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้น ๆ มีหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอนั้น ๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชารับผิดชอบ

--------- 4. ตำบล
---------พ.ร.บ. พ.ศ. 2457 ระบุไว้ว่า หลาย ๆ หมู่บ้านรามกันราว 20 หมู่บ้าน ให้จัดตั้งเป็นตำบลหนึ่ง
การจัดระเบียบปกครองตำบล
------------------1. กำนัน เป็นผู้ได้รับเลือกจากราษฏรในตำบลนั้น มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยในตำบล

---------5. หมู่บ้าน
ให้จัดเป็นหมู่บ้านโดยถือเอาจำนวนราษฏรประมาณ 200 คน หรือ จำนวนบ้านไม่ต่ำกว่า 5 บ้าน

--------- การจัดระเบียบการปกครองหมู่บ้าน
---------ผู้ใหญ่บ้าน
------------------การจัดระเบียบการปกครองหมู่บ้าน
------------------1. ผู้ใหญ่บ้าน มีหน้าปกครองราษฏรที่อยู่ในเขตหมู่บ้านนั้น
------------------2. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน มีหมู่บ้านละ 2 คน
------------------3. คณะกรรมการหมู่บ้าน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้านประธาน ผู้ช่วยเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง
มีหน้าที่เสนอข้อแนะนำให้คำปรึกษาต่อผู้ใหญ่บ้าน


--------- 3. การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น คือ การใช้หลักการกระจายอำนาจ การจัดระเบียบราชการบริหารส่วนท้องถิ่นในปัจจุบัน มีอยู่ 2 ระบบ คือ
------------------1. ระบบทั่วไปที่ใช้แก่ท้องถิ่นทั่วไป มี 3 รูปแบบ คือ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด
------------------2. ระบบพิเศษที่ใช้เฉพาะท้องถิ่นบางแห่งซึ่งในปัจจุบันมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับการบริหารราชการขององค์กรปกครองท้องถิ่น
---------1. ความสัมพันธ์ในเชิงการจัดภารกิจระหว่างภารกิจของรัฐ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
------------------1.1 ภารกิจทางปกครอง
------------------1.2 ภารกิจทางเศรษฐกิจ
------------------1.3 ภารกิจทางสังคม
------------------1.4 ภารกิจของท้องถิ่น
---------2. ความสัมพันธ์ในเชิงควบคุมกำกับดูแล
------------------2.1 การควบคุมกำกับโดยตรง
------------------2.2 การควบคุมกำกับโดยอ้อม

ความเป็นมาของการปกครองท้องถิ่นไทย
---------ความเป็นมาหรืออาจเรียกว่า พัฒนาการการปกครองท้องถิ่นของไทยจัดลำดับขั้นตอนของพัฒนาการได้เป็นลำดับดังนี้
พ.ศ. 2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ทดลองตัดตั้งหน่วยการปกครอง แบบใหม่ในระดับท้องถิ่น

หน้าที่สำคัญคือการรักษาความสะอาดในชุมชน
---------พ.ศ. 2448 เกิดสุขาภิบาลท่าฉลอม
---------พ.ศ. 2451 จัดตั้งสุขาภิบาลในหัวเมืองต่าง ๆ ทั่วประเทศ แบ่งออกเป็น 2ประเภท คือสุขาภิบาลเมือง สุขาภิบาลตำบล
---------พ.ศ. 2453-2468 รัชกาลที่ 6 ทดลองจัดตั้งสภาประชาธิปไตยในระดับชาติ ส่งผลให้สุขาภิบาลมีสภาพอยู่กับที่
---------พ.ศ. 2470 รัชกาลที่ 7 ทรงตั้งคณะกรรมการขึ้นขุดหนึ่งทำการศึกษาบทเรียนจากต่างประเทศ
---------พ.ศ. 2473 ร่างพระราชบัญญัติเทศบาล
---------พ.ศ. 2474 รัชกาลที่ 7 ทรงพระราชทานสัมภาษณ์แก่หนังสือพิมพ์ต่าง ประเทศ
---------พ.ศ. 2476 รัฐบาลของคณะราษฏรมีนโยบายขัดเจนที่จะกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
---------พ.ศ. 2488 เทศบาลทั่วประเทศมีเพียง 117 แห่ง การปกครองเทศบาลไม่เหมาะสม
---------พ.ศ. 2495 จอมพล ป.พิบูลสงคราม เดินทางไปดูงานต่างประเทศจึงตัดสินใจนำการปกครองท้องถิ่นรูปแบบสุขาภิบาลมาใช้อีกครั้ง
---------พ.ศ. 2498 รัฐบาล ได้ออกพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนตำบลให้มีฐานะเป็นหน่วยการปกครองท้างถิ่นเป็นนิติบุคล
---------พ.ศ. 2509 รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร ปรับปรุงองค์การบริหารส่วนตำบลใหม่
---------พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 335 รวมเทศบาลกรุงเทพกับเทศบาลธนบุรี
---------พ.ศ.2521 มีการตราพระราชบัญญัติเมืองพัทยา กำหนดให้เมืองพัทยาเป็นนิติบุคล
---------พ.ศ. 2528 มีการเลือกผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพ
---------พ.ศ. 2535-2539 พรรคการเมือง 5 พรรค เสนอนโยบายหาเสียงว่าจะกระอำนายไปสู่ท้องถิ่น
---------พ.ศ. 2540 มีการออก พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
---------พ.ศ. 2541-2542 มีการออก พ.ร.บ. ยกเลิก พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ.2491
------------------ออก พ.ร.บ. เปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาล พ.ศ.2542
------------------แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
------------------แก้ไข้เพิ่มเติม พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 และออก พ.ร.บ. เทศบาล ฉบับที่ 11
------------------มีการออก พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา
---------พ.ศ. 2543 มีกฎหมายกำหนดทิศทางขององค์กรปกครองท้องถิ่น
---------พ.ศ. 2544 มีการเสนอกฎหมายที่สำคัญเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น


http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Social/kunya003/nav/nav_1_sec6_bhb.gif




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น